วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2559

Lesson 2



บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้าวสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Creative Art Experiences Management for Early Childhood)
อาจารย์ผู้สอน   ว่าที่ ร.ต.กฤตธ์ตฤณน์  ตุ๊หมาก
ประจำวัน  พฤหัสบดีที่  21   มกราคม  2559
เรียนครั้งที่  2   เวลา   08.30 - 13.30 น.  
กลุ่ม 102  


    Knowledge  (ความรู้)

      ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ

     1.ทฤษฎีพัฒนาการ
  • พัฒนาการทางศิลปะของโลเวนเฟลด์ (Lowenfeld) 
     2.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 
  • ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญา (Guilford)
  • ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์
  • ทฤษฎีความรู้สองลักษณะ (สมองสองซีก)
  • ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์
  • ทฤษฎีโอตา (ญี่ปุ่น)
    3.ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกิลฟอร์ด
  • นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
  • ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวประกอบของสติปัญญา
    - เน้นเรื่องความคิดสร้างสรรค์
    - ความมีเหตุผล
    - การแก้ปัญหา

  ความสามารถของสมอง

     แบ่งออกเป็น 3 มิติ
     มิติที่ 1 เนื้อหา
  •   ข้อมูลหรือสิ่งเร้าเป็นสื่อในการคิด                                                           
  •  สมองรับข้อมูลปคิดพิจารณณา 4 ลักษณะ คือ
                 - ภาพ 
                 - สัญลักษณ์ 
                 - ภาษา 
                 -  พฤติกรรม

    มิติที่ 2 วิธีการคิด
  •  การทำงานของสมอง 5 ลักษณะ 
                  - การรู้จัก 
                  - การเข้าใจ 
                  - การจำ 
                  - การคิดแบบอเนกนัย 
                  - การคิดแบบเอนกนัย 
                  - การประเมินค่า

    มิติที่ 3 ผลของการคิด
  • มี 6 ลักษณะ คือ 
                 - หน่วย 
                 - จำพวก 
                 - ความสัพันธ์
                 - ระบบ 
                 - การแปรรูป 
                 - การประยุกต์ 

    รุป
          ทำให้เราทราบความสามารถของสมองที่แตกต่างกันถึง 120 ความสามารถตามแบบจำลองโครงสร้างทางสติปัญญาในลักษณะ 3 มิติ มีเนื้อหา 4 มิติ วิธีการคิด 5 มิติ และผลการคิด 6 มิติ รวมความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ด้วย คือ วิธีการคิดอเนกนัย เป็นการคิดหลายทิศทาง หลายแง่มุม คิดได้กว้าง ซึ่งลักษณะการคิดนี้จะนำไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งแปลกใหม่


ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์
  • เป็นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาผู้มีเชื่อเสียง ชาวอเมริกัน

    ลำดับของการคิดสร้างสรรค์ 5 ขั้น ของทอร์แรนซ์
  1. ขั้นการค้นพบความจริง
  2. ขั้นการค้นพบปัญหา
  3. ขั้นการตั้งสมมุติฐาน
  4. ขั้นการค้นพบคำตอบ
  5. ขั้นยอมรับผลจากการค้นพบ
     ตัวอย่าง
  1. ขยะ
  2. ทิ้งขยะไม่เป็นที่
  3. จัดการอย่างไรกับขยะ
  4. หาวิธีการจัดการกับขยะได้
  5. ยอมรับผล
  
ทฤษฎีความคิดสองลักษณะ
  • เป็นทฤษฎีที่กำลังได้รับความสนใจ เพราะ เป็นการค้นพบความรู้เกี่ยวกับการทำงานของสมองมนุษย์
  • การทำงานของสมอง
    - ซีกซ้าย การคิด เหตุผล เชิงวิชาการ
    - ซีกขวา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ
  • แพทย์หญิง กมลพรรณ ชีวพันธุศรี กล่าวว่า
    - สมองซีกขวา เป็นส่วนของจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาได้มากในช่วงวัย 4-7 ปี
    - สมองซีกซ้าย เป็นส่วนของการคิด เหตุผล และพัฒนาดีที่สุดในช่วงอายุ 9-12 ปี และสมองจะเจริญเติบโตเต็มที่เมื่ออายุ 11-13 ปี

แนวคิดเกี่ยวกับการทำงานของสมองสองซีก
  • ผู้เรียนได้เรียนรู้และทำกิจกรรมแบบบูรณาการ
  • มีการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ หรือ 4 MAT
  • มีการทำกิจกรรมที่หลากหลาย

ฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์
  • การ์ดเนอร์ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยาการศึกษา ชาวอเมริกัน
  • ศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของสติปัญญา
  • ผู้คิดค้นทฤษฎีพหุปัญญา (ศักยภาพและความสามารถที่หลากหลายของมนุษย์)
    การ์ดเนอร์จำแนกความสามารถหรือสติปัญญาของคนเอาไว้ 9 ด้าน
  1. ความสามารถด้านภาษา
  2. ความสามารถด้านดนตรี
  3. ความสามารถด้านกีฬาและการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
  4. ความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์
  5. ความสามารถด้านธรรมชาติศึกษา
  6. ความสามารถในด้านการคิดพลิกแพลงแตกต่างในการแก้ปัญหา
  7. ความสามารถด้านตรกกวทิยาและคณิตศาสตร์
  8. ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์
  9. ความสามารถด้านจิตวิเคราะห์
     ลักษณะสำคัญ
  • ปัญญา มีลักษณะเฉพาะด้าน
  • ทุกคนมีปัญญาแตะละด้าน 9 ด้าน
  • ทุกคนสามารถพัฒนาปัญญาให้สูงขึ้นได้


ทฤษฎีโอตา (AVTA)
  • ขั้นที่ 1 การตระหนัก
    ต้องตระหนักถึงความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อตนเองทั้งในอดีตและปัจจุบัน เช่น
         - การพัฒนาปรัชญาณ
         - การรู้จักและเข้าในตนเอง
         - การมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์
         - การมีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
  • ขั้นที่ 2 ความเข้าใจ
    มีควาามรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องต่าง ๆ
         - ความรู้และเนื้อหาบุคลิกภาพ
  • ขั้นที่ 3 เทคนิควิธี
    - เทคนิควิธีการใช้การฝึกความคิดสร้างสรรค์
    - การระดมสมอง
    - การคิดเชิงเปรียบเทียบ
    - การฝึกจินตนการ
  • ขั้นที่ 4 การตระหนักในความจริงของสิ่งต่าง ๆ
    - เปิดกว้างรับประสบการณ์ต่างๆ โดยปรับตัวอย่างเหมาะสม
    - มีความคิดริเริ่มและผลิตผลงานตนเอง
    - สามารถปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแนวทางในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม

  พัฒนาการทางศิลปะ
  • วงจรของการขีดๆ เขียน  

    เคลล็อก (Kellogg) จำแนกขั้นตอนเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
  • ขั้นที่ 1 ขั้นขีดเขี่ย (Placement Stage)
    - เด็กวัย 2 ขวบ
    - ขีดๆ เขี่ยๆ ตามธรรมชาติ
    - ขีดเขี่ยโดยปราศจากการควบคุม
    - ขีดเขี่ยเป็นเส้นตรงบ้าง เส้นโค้งบ้าง
  • ขั้นที่ 2 ขั้นเขียนเป็นรูปร่าง (Shape Stage)
    - เด็กวัย 3 ขวบ
    - การขีดๆ เขียนๆ เริ่มเป็นรูปร่างขึ้น
    - เขียนวงกลมได้
    - ควบคุมมือกับตาให้สัมพันธ์กันมากขึ้น
  • ขั้นที่ 3 ขั้นรู้จักออกแบบ (Design Stage)
    - เด็กวัย 4 ขวบ
    - ขีดๆ เขียนๆ เป็นรูปร่างเข้าด้วยกัน
    - วาดโครงสร้างหรือเค้าโครงได้
    - วาดสี่เหลี่ยมได้
  • ขั้นที่ 4 ขั้นการวาดแสดงเป็นภาพ
    - เด็กวัย 5 ขวบ
    - วาดสามเหลี่ยมได้
    - รับรู้ความเป็นจริง เขียนภาพสแดง

พัฒนาการด้านร่างกาย 

     กีเซลล์ และ คอร์บิน

  • การตัด
    - อายุ 3-4 ขวบ ตัดเป็นชิ้นส่วนได้
    - อายุ 4-5 ขวบ ตัดกระดาษเป็นเส้นตรงได้
    - อายุ 5-6 ขวบ ตัดกระดาษตามเส้นโค้งหรือรูปต่างๆ ได้

  • การขีดเขียน
          - อายุ 3-4 ขวบ วาดวงกลมได้
          - อายุ 4-5 ขวบ วาดสี่เหลี่ยมได้
          - อายุ 5-6 ขวบ วาดสามเหลี่ยมได้

  • การพับ
           - อายุ 3-4 ขวบ พับและรีดสัน 2 ทบตามแบบ
           - อายุ 4-5 ขวบ พับและรีดสัน 3 ทบ           - อายุ 5-6 ขวบ พับและรีดสันได้อย่างคล่องแคล่ว

  • การวาด
    - อายุ 3-4 ขวบ วาด หัว ตา ขา ปาก
    - อายุ 4-5 ขวบ วาด หัว ตา ขา ปาก จมูก ลำตัว เท้า
    - อายุ 5-6 ขวบ วาดรายละเอียดมากขึ้น



กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้ทำในวันนี้

กิจกรรมที่ 1
มือน้องสร้างสรรค์








กิจกรรมที่ 2  
วาดภาพต่อเติมจากสิ่งที่กำหนดให้  พร้อมตกเเต่งและระบายสีให้สวยงาม









      skill  (ทักษะ)
                 - ทักษะการวาดภาพ
                 -ทักษะความคิดสร้างสรรค์
                 - ทักษะการตอบคำถาม



      Application  (การประยุกต์ใช้)
            นำความรู้เกี่ยวกับทฤษฏีต่างๆไปปรับใช้ให้เข้ากับเด็กที่เราสอน และนำกิจกรรมที่ได้ทำในวันนี้ เช่น กิจกรรมมือน้องสร้างสรรค์ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก และฝึกให้เด็กใช้ความคิดสร้างสรรค์  จิตนาการลงในผลงานของตัวเอง



      Technical  Education  (เทคนิคการสอน)
             - เทคนิคการใช้สื่อ
             - เทคนิคการบรรยาย
             - เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
             - เทคนิคการใช้กิจกรรม



      Evaluation   (การประเมิน)
          self   :   เเต่งกายเรียนร้อย  เข้าเรียนตรงเวลา  ตั้งใจเรียน
          Friend   :  เเต่งกายเรียนร้อย  เข้าเรียนตรงเวลา  ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรน
         Teacher   :   อาจารย์สอนเข้าใจง่าย มีเทคนิการสอนที่หลากหลาย มีกิจกรรมที่ฝึกให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น